การสาธารณสุขเขตเมือง

อ.เมือง จ.พิษณุโลกประชากรพื้นที่ประชากรต่อตารางกิโลเมตร จำนวน PCUประชากรต่อ 1 PCU
เขตเทศบาล90,386 18.64,950 422,000
นอกเขตเทศบาล174,815758.8230 257,000

ทั้งเขตเทศบาลนครพิษณุโลก มี 50-60 ชุมชน แต่ขอบเขตครอบคลุมไม่ครบทั้งพื้นที่ เหมือน สอ.นอกเขตเทศบาล
พื้นที่ที่เป็นชุมชนแล้วจะมี อสม. แต่บางพื้นที่ของเทศบาลยังไม่ได้จัดตั้งเป็นชุมชน จึงไม่มี อสม
ไม่มีข้อมูลประชากรที่จะได้ครบ เหมือนกับ สอ.นอกเขตเทศบาล ซึ่งได้ข้อมูลจากการเดินสำรวจ
คำว่า "ชุมชน" ไม่ได้มีอาคารที่ตั้งเหมือน สถานีอนามัย ไม่มีคนทำงานอยู่ประจำ ไม่มีคอมพิวเตอร์และ และ Internet
เทศบาลอาจ มีข้อมูลประชากรย้ายมาเรียนหนังสือ แต่ประชากรเคลื่อนย้ายบอย บ้านเช่า เปลี่ยนผู้มาเช่าอยู่เสมอๆ
ข้อมูลในบ้านเช่าหรือหอพักของนิสิต ชื่อผู้อยู่อาศัย บางที 2-3 เดือนก็เปลี่ยนเป็นคนใหม่แล้ว

บางบ้านไม่มีคนอยู่ ที่ต่างกับชนบทก็คือ ในเขตเทศบาลแต่ละบ้านไม่รู้จักกัน
1 PCU ของเทศบาลมีประชากร มากกว่า 22,000 คน

ยุค HFA 2543 จึงแบ่ง คปสอ.อำเภอเมือง เป็น 2 ชุด คือ ในเขตเทศบาล (43 ข้อ)
และนอกเขตเทศบาล (36 ข้อ) ซึ่งตัวชี้วัดจะไม่เหมือนกัน

การพัฒนาระบบการแพทย์การสาธารณสุข จึงควรเป็นแบบ Public Private Mix

เช่น ผู้มีสิทธิประกันสังคมสามารถไปตรวจรักษาที่คลินิกเครือข่ายของ รพ.พุทธชินราชได้

เทศบาลนครพิษณุโลก และกลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.พุทธชินราช

พิษณุโลกเป็นจังหวัดแรก ที่ เทศบาลเป็นคู่สัญญากับ สปสช.
และนำงบประมาณของท้องถิ่นมาใช้สนับสนุนด้านสาธารณสุข

การจัดสรรเงิน

ประชาชนต้องการไปรักษาที่ รพ.พุทธชินราช หรือ โรงพยาบาลม.นเรศวร
หรือ PCU ของเทศบาล ไม่ได้จำกัดสิทธิ เทศบาลจะตามจ่ายเงิน
เทศบาลโอนเงินที่ได้จาก สปสช ให้ รพ.พุทธชินราช ซึ่งใช้เงินประมาณ 90% ของเงินที่ได้รับจัดสรร
อีก 10% เป็นบริการ Primary Care ที่เทศบาลจัดบริการ
เทศบาลจึงเป็นผู้ทำเรื่องเบิกเงินจาก รพ.พุทธชินราช แทน โดยวิธีเหมาจ่ายรายครั้ง

วิธีจัดบริการ

แพทย์จากกลุ่มงานเวชกรรมสังคม ไปตรวจคนไข้ ที่ PCU ประชาอุทิศ ตั้งแต่ 2541

เดิม Market Share 2% ปัจจุบันเพิ่มขึ้นเป็น 30%

เทศบาลขาดแคลนแพทย์ จึงเชิญ แพทย์จากกลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.พุทธชินราช
ไปตรวจคนไข้ ที่ PCU ประชาอุทิศ ตั้งแต่ 2541 ถึงปัจจุบัน (2553)
ค่ารักษาที่ได้จาก สปสช ไม่พอ สำหรับทั้ง 4 PCU
เทศบาลจึงจัดงบเพิ่มให้อีก (50 ล้านบาท ในช่วงเวลาประมาณ 2-3 ปี)

การประชุม Urbanization 7 เมษายน 2553

ห้องประชุมชั้น 5 สสจ.พิษณุโลก

นพ.สุธี รองนายกเทศมนตรี เทศบาลนครพิษณุโลก กล่าวว่า
เทศบาลนครพิษณุโลกไม่ได้ต้องการจะยกระดับบริการ Primary Care ให้เป็น Secondary
หรือ Tertiary เหมือนเชียงใหม่หรือ กทม

เทศบาลนครพิษณุโลกเป็นเทศบาลแห่งแรกที่เป็นคู่สัญญากับ สปสช
ปัญหาคือ สปสช หักเงินเดือนไว้ที่ส่วนกลาง
แต่สำหรับ อบต. สปสช ไม่หักไว้ จ่ายทั้งหมดเลย จึงกำลังปรึกษากับนิติกร
และถ้าภาระกิจนี้ควรเป็นของกระทรวงสาธารณสุข คือไม่ใช่ เทศบาล หรืออบต.
ก็ควรกำหนดไว้ให้ชัดเจนในรัฐธรรมนูญ

บริการตรวจรักษา (Integrated Care รวมส่งเสริม ป้องกัน และฟื้นฟู)

เดิมมี Market Share 2% ปัจจุบันเพิ่มขึ้นเป็น 30%

มี 4 PCU สำหรับประชากร 88,000 คน

ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู

ทำ Pap Smear โดยแจกคูปองให้กลุ่มเป้าหมายไปตรวจที่คลินิกเอกชน
ฉีดวัคซีนเด็กนักเรียนในโรงเรียนเทศบาล
ฉีดวัคซีนเด็กที่ PCU
ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
ตรวจคัดกรองโรคไขมันในเลือดสูง
โรคท้องเดิน
โรคระบบหายใจ
โรคอื่นๆ
อาหารปลอดภ้ย
เต้นแอโรบิก ริมแม่น้ำน่าน

(ฐานข้อมูลอิเลกทรอนิกส์ เดือน มีนาคม 2551)

    สถานพยาบาลหลัก จำนวนประชากร
1 07478 สอ.ต.วัดจันทร์ 6,603
2 07483 สอ.ต.สมอแข 12,802
3 07484 สอ.ต.ดอนทอง 7,443
4 07485 สอ.ต.บ้านป่า 5,686
5 07486 สอ.ต.ปากโทก 4,562
6 07487 สอ.ต.หัวรอ 8,565
7 07488 สอ.ต.จอมทอง 1,534
8 07489 สอ.บ้านจอมทอง 2,132
9 07490 สอ.ต.บ้านกร่าง 7,812
10 07491 สอ.ต.บ้านคลอง 8,249
11 07492 สอ.ต.พลายชุมพล 5,638
12 07493 สอ.ต.มะขามสูง 5,699
13 07494 สอ.ต.อรัญญิก 12,869
14 07495 สอ.ต.บึงพระ 14,339
15 07496 สอ.ต.ไผ่ขอดอน 4,063
16 10676 รพศ.พุทธชินราช -
17 11797 สอ.บ้านสระโคล่ 8,876
18 11798 สอ.บ้านแหลมโพธิ์ 4,351
19 14055 สอ.บ้านร้องยุ้งข้าว 4,897
20 15280 ศสช.วัดเขื่อนขันธ์ 9,938
รวม    136,058


[Back]